คำสั่ง : วัน ศุกร์ที่ 20 มีค 58 อาจารย์ขอนัดเรียนนะครับ (จะมีอาจารย์ธนรัตน์ เข้ามาช่วยเรื่องการทำวิจัยงานคู่) ยังไงเตรียมชื่อหัวข้อไว้ด้วยนะครับ (ชื่อวิจัย+ ปัญหา+หลักการเหตุผล และอื่นที่เกี่ยวกับวิจัย นะครับ) อาจารย์คิดว่า งานตัวนี้จะให้เป็น คะแนนสอบเลยครับ step ประมาณนี้ครับ (Ideal>Problem>Solution>Apply)
บทคัดย่อ
หัวข้อวิจัย การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน
เรื่องค่าของมุม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ผู้วิจัย นางสาวสุคนธา ทองรักษ์ และ นางสาวสุพัตรา หมอยาดี
สาขาวิชา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ศึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. ธนรัตน์ แต้วัฒนา
ปี พ.ศ. 2557
วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์
1.
เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เรื่องค่าของมุม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ค่าของมุม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสาน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงโดยคัดเลือกห้องที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง ม.5/3
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงโดยคัดเลือกห้องที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง ม.5/3
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี
3 อย่าง คือ 1) แผนการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน เรื่อง ค่าของมุม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5 2) สื่อโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เรื่อง
ค่าของมุม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3)แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ค่าของมุม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3)แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ค่าของมุม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ผลการวิจัยพบว่า
ผลของการศึกษาในครั้งนี้ปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง เรื่อง ค่าของมุม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสาน สูงกว่าก่อนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปรียบเทียบจากค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ก่อนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสานเท่ากับ 9.67 คะแนน และหลังการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสานเท่ากับ 15.53 คะแนน
ผลของการศึกษาในครั้งนี้ปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง เรื่อง ค่าของมุม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสาน สูงกว่าก่อนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปรียบเทียบจากค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ก่อนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสานเท่ากับ 9.67 คะแนน และหลังการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสานเท่ากับ 15.53 คะแนน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น